ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเชื่อว่าหากอารมณ์ก่อให้เกิดโรคได้ อารมณ์ก็ย่อมส่งผลให้เกิดการรักษาโรคตามหลักแห่ง “ดุลยภาพ” ของร่างกายได้เช่นกัน กล่าวคือ เมื่อมีอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งมากจนเกินไปเป็นระยะเวลาหนึ่งจนก่อให้เกิดความผิดปกติต่างๆทางร่างกาย แพทย์แผนจีนจะใช้วิธีเหนี่ยวนำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ใหม่ทดแทน เพื่อให้เกิดการ “ข่ม” อารมณ์เดิมที่ทำให้ร่างกายเจ็บป่วย

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนได้กล่าวถึง “อารมณ์” ต่างๆ ที่ทำให้เกิดความผิดปกติของร่างกายไว้อย่างน่าสนใจ เช่นคำว่า “อารมณ์ดี” หลายๆ คนคงจะให้คำนิยามว่า หมายถึง อารมณ์ที่เฮฮา สนุกสนาน คิดบวก แต่ในที่นี้อยากให้ทุกคนเข้าใจไปในทางเดียวกันว่า “อารมณ์ดี” หมายถึง อารมณ์ที่เป็นปกติ อารมณ์ที่สมดุล ไม่ทำให้จิตใจรู้สึกจัดจ้านหรือเฉื่อยชาจนเกินขอบเขต

สื่อความหมายของการเป็นผู้นำที่ดี ความมีระเบียบวินัย และความรักใคร่สามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะ
ทั้งนี้ นกหงังหรือห่านฟ้าคู่ เป็นสัญลักษณ์ประจำตระกูล “เตชะไพบูลย์” สะท้อนปรัชญาแง่คิดของท่านดร.อุเทน เตชะไพบูลย์ ที่ทรงคุณค่า เป็นแรงดลใจต่อคนรุ่นหลัง และเป็นแบบอย่างการดำเนินชีวิต สู่ความสำเร็จ ทั้งในหน้าที่การงาน ฐานะความเป็นอยู่ ชื่อเสียง เกียรติคุณ และคุณธรรมความดี

ใครจะรู้ว่า “ความชื้น” ในฤดูฝนมักจะส่งผลต่อสุขภาพของเราด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีตำราโบราณหลายเล่มกล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า ความชื้นจากฝนทำให้ร่างกายของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรงเกิดโรคได้ง่าย หรืออาจจะทำให้ผู้ที่เป็นโรคที่วินิจฉัยแล้วว่ามีภาวะชื้น(ตามหลักการของการแพทย์แผนจีน)มีอาการรุนแรงขึ้นได้อีกด้วย

ครอบแก้ว หรือ Cupping therapy เป็นหนึ่งในวิธีบำบัดโรคของศาสตร์การแพทย์แผนจีนซึ่งค้นพบมานานหลายพันปี
ทางการแพทย์แผนจีน การครอบแก้วช่วยทำให้เลือดลมไหลเวียนสะดวก กำจัดพิษเมื่อเลือดและลมปราณไหลเวียนได้ดี อาการปวดหรืออาการเจ็บป่วยนั้นก็จะทุเลาลงหรือหายไปด้วยเช่นกัน


กดจุด หยุดสะอึก

เชื่อว่าหลายๆคนคงเคยพบเจอปัญหาที่เหมือนจะเล็กน้อย อย่างเช่น “การสะอึก” แต่บางครั้งการสะอึกที่เกิดขึ้นกับเรามันช่างยาวนาน ไม่ว่าจะทำวิธีไหนก็ไม่หายเสียที จนทำให้เรารู้สึกเหนื่อยล้ากับการสะอึกได้ง่ายๆ มิหนำซ้ำบางคนยังมีอาการสะอึกเป็นวันเป็นคืน หรือหลายวันหลายคืนเลยก็มี วันนี้มีวิธีการกดจุด ทางเลือกสุขภาพสำหรับผู้ที่มีอาการสะอึกสะอึกจากศาสตร์การแพทย์แผนจีนมาฝากค่ะ

การนวดจีน(ทุยหนา) ถือเป็นศาสตร์การแพทย์แผนจีนแขนงหนึ่งที่มีแต่โบราณ สามารถใช้รักษาโรคได้เช่นเดียวกับการฝังเข็ม โดยวิธีการใช้มือกด นวด บีบ ถูหรือกลิ้ง เป็นต้น สำหรับเด็กที่มีความไวต่อความรู้สึกของเข็มและอวัยวะภายในยังมีความเปราะบางเจริญเติบโตไม่เต็มที่ การนวดทุยหนาจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก

เคยมีอาการแบบนี้กันบ้างรึเปล่าคะ? … สมองคิดวนไปวนมาซ้ำๆในเรื่องเดิมๆ ถอนหายใจบ่อย นอนไม่หลับ หรือหลับได้แต่ฝันเยอะ ปวดหรือเวียนศีรษะ ปวดแน่นบริเวณชายโครงด้านขวา รู้สึกเหมือนมีก้อนอะไรบางอย่างติดคออยู่จะกลืนก็กลืนไม่ลง จะขากก็ขากไม่ออก ไม่อยากอาหาร มีเสียงวิ้งในหู ถ่ายไม่ออก … ถ้ามีอาการเหล่านี้เกินครึ่งละก็ ต้องรีบอ่านเรื่องนี้แล้วหละค่ะ

ดวงตาบอกโรค &
ศาสตร์การแพทย์แผนจีน

หลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า “ดวงตาเป็นเสมือนหน้าต่างของหัวใจ” แต่สำหรับศาสตร์การแพทย์แผนจีนเราคงจะต้องกล่าวว่า “ดวงตาเป็นเสมือนทวารของตับ” ว่าแต่เป็นเพราะอะไร ทำไมเราถึงกล่าวเช่นนี้ แล้วนอกจากนี้ตำแหน่งต่าง ๆ ของดวงตายังสะท้อนโรคของอวัยวะอะไรได้อีกบ้าง มาติดตามกันเลยค่ะ

"เก๋ากี้" ยาดีในครัว | 枸杞
Goji Berry

“เก๋ากี้” มีชื่อเรียกในภาษาจีนกลางว่า “โก่วฉีจึ” และมีชื่อที่คุ้นหูอีกชื่อหนึ่งว่า “โกจิเบอร์รี่” (Goji Berry) หรือ “วูฟเบอร์รี่” (Wolfberry) เป็นผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ชนิดหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะประเทศจีน ผลเป็นสีแดง จะสุกในช่วงฤดูร้อนและฤดูใบไม้ร่วง ชาวจีนจะนิยมเก็บผลเก๋ากี้มาตากในที่ร่มจนผิวเหี่ยว สามารถนำไปปรุงอาหารได้หลากหลาย ตลอดจนนำมาแปรรูปเป็นชาสมุนไพรดื่มบำรุงสุขภาพได้อีกด้วย

ในวันที่ 22 – 24 กันยายนของทุกปี จะเข้าสู่ภาวะชิวเฟิน(秋分)นับเป็นวันกึ่งกลางของฤดูใบไม้ร่วงซึ่งเป็นวันที่เวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน หรือที่รู้จักกันในชื่อศารทวิษุวัต (สันสกฤต) หรือ Autumnal Equinox จัดเป็นภาวะที่ 4 ในฤดูใบไม้ร่วง หรือภาวะที่ 16 ของปี ลักษณะที่เวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ซึ่งแสดงถึงอิน(阴)และหยาง(阳)ของธรรมชาติ มีความสมดุลกัน

เชื่อไหมว่า..อุจจาระคือ “ขุมทอง” ที่สามารถบ่งบอกสภาวะภายในร่างกายของเราได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียว เช่น ร่างกายมีความร้อน ความชื้น ความเย็น หรือมีเลือดออก เป็นต้น และยังสามารถแสดงให้เห็นถึงสภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย ทั้งการทำงานของม้าม กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ตับ ฯลฯ ได้อีกด้วย

เป็นเทศกาลประจำปีตามประเพณี (年节 หรือ 传统节日) ที่สำคัญของชาวจีน ที่แสดงออกถึงความกตัญญูความเคารพและการระลึกถึงบรรพบุรุษ

เกี๊ยว | 饺子
DUMPLING

เกี๊ยว เมนูยอดฮิตของชาวจีนที่อยู่คู่แดนมังกรมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 – พ.ศ. 763) มีที่มาและบทบาทที่น่าสนใจในวิถีชีวิตของชาวจีนมาจนถึงปัจจุบัน

งิ้ว | อุปรากรจีน
CHINESE OPERA
戏曲

เรียนภาษาและวัฒนธรรมจีนโดยผ่านการแสดงอุปรากรจีน“งิ้ว”
โดยคณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

เทศกาลหยวนเซียว
Yuan Xiao | 中元节

เป็นเทศกาลที่เต็มไปด้วยสีสันและความสนุกสนานร่าเริง ผู้คนจะทำโคมไฟในรูปแบบต่างๆ จนบางแห่งได้จัดเป็นเทศกาลประกวดโคมไฟ
เทศกาลหยวนเซียวเป็นสัญญาณบอกให้รู้ว่าบรรยากาศของตรุษจีนได้สิ้นสุดลงแล้ว

ไท้เก๊ก
Tai-Chi | 太极拳

จากการเรียนรู้สู่การแข่งขันไท้เก๊ก มฉก.
ความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ


เทศกาลล่าปา
Laba Festival | 腊八节

วันขึ้น 8 ค่ำเดือน 12 เป็นเทศกาลล่าปา(腊八节)
ทำความรู้จักกับเทศกาลล่าปา ความเป็นมา ตำนานเล่าขาน และประเพณีการรับประทาน “โจ๊กล่าปา”



ห้องสมุดวัฒนธรรมศาสนาเต๋า
Taoism Library |
華僑崇聖大學道教文化館

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ร่วมกับ ศาลเจ้าชิงซงศาสนาเต๋าแห่งฮ่องกง และศาลเจ้าฮั่วกวงศาสนาเต๋าแห่งประเทศไทย จัดตั้งห้องสมุดวัฒนธรรมศาสนาเต๋า เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับศาสนาเต๋าให้แก่บุคลากร นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

previous arrowprevious arrow
next arrownext arrow
Slider

เรื่องราวที่น่าสนใจใน HCU - Chinese Varieties

อารมณ์…รักษาโรคได้อย่างไร

อารมณ์…รักษาโรคได้อย่างไร? โดยอาจารย์แพทย์จีน อรภา ศิลมัฐ “อารมณ์” มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มาตั้งแต่สมัยบรรพกาล ในคัมภีร์ของชาวจีนโบราณหลายเล่มที่บันทึกสาเหตุการเกิดโรค การรักษา และการป้องกันโรคทางศาสตร์การแพทย์แผนจีนถือเป็นหลักฐานชั้นยอดที่แสดงให้เห็นว่าชาวจีนมีแนวคิดว่า “อารมณ์” มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆมาตั้งแต่สมัยบรรพกาล...

Read More

อารมณ์…กับการเกิดโรค

อารมณ์…กับการเกิดโรค โดยอาจารย์แพทย์จีน อรภา ศิลมัฐ “อารมณ์” ตามศาสตร์แพทย์จีน ศาสตร์การแพทย์แผนจีนให้ความสำคัญกับการรักษาโรคแบบองค์รวม  มีทฤษฎีพื้นฐานที่กล่าวว่าร่างกายของเราจะแข็งแรงได้นั้นจะต้องอาศัย “ความสมดุล” ระหว่างร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกซึ่งสอดคล้องกับหลักของพระพุทธศาสนาที่สอนให้เรามีสติ...

Read More

ประติมากรรมนกหงัง

ประติมากรรมนกหงัง @มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สื่อความหมายของการเป็นผู้นำที่ดี ความมีระเบียบวินัย และความรักใคร่สามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะ ทั้งนี้ นกหงังหรือห่านฟ้าคู่ เป็นสัญลักษณ์ประจำตระกูล “เตชะไพบูลย์” สะท้อนปรัชญาแง่คิดของท่าน ดร.อุเทน เตชะไพบูลย์...

Read More

HCU Chinese library

HCU-Chinese Library 华侨崇圣大学 中文图书馆 简介 诗琳通公主御览室 公主对热爱中国文化。 在宫中及多次赴中国学习不遗余力。 以下是部分公主在中国学习期间 旅游途中所书写的自传式日记画册。 公主的部分著作 中文图书馆开放书架...

Read More

3 วิธีแก้เครียด ฉบับหมอจีน

เคยมีอาการแบบนี้กันบ้างรึเปล่าคะ? ... สมองคิดวนไปวนมาซ้ำๆในเรื่องเดิมๆ ถอนหายใจบ่อย นอนไม่หลับ หรือหลับได้แต่ฝันเยอะ ปวดหรือเวียนศีรษะ ปวดแน่นบริเวณชายโครงด้านขวา รู้สึกเหมือนมีก้อนอะไรบางอย่างติดคออยู่จะกลืนก็กลืนไม่ลง จะขากก็ขากไม่ออก ไม่อยากอาหาร มีเสียงวิ้งในหู...

Read More

กินอย่างไรในฤดูฝน

“ความชื้น” ในฤดูฝนมักจะส่งผลต่อสุขภาพของเราด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีตำราโบราณหลายเล่มกล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า ความชื้นจากฝนทำให้ร่างกายของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรงเกิดโรคได้ง่าย

Read More

ครอบแก้ว

Cupping therapy “ครอบแก้ว” ทางเลือกในการรักษาโรค จากแพทย์แผนจีน บทความโดย อาจารย์แพทย์จีน อรภา  ศิลมัฐ การครอบแก้วคืออะไร? ครอบแก้ว หรือ...

Read More

ทุยหนาในเด็ก

การนวดจีน(ทุยหนา) ถือเป็นศาสตร์การแพทย์แผนจีนแขนงหนึ่งที่มีแต่โบราณ สามารถใช้รักษาโรคได้เช่นเดียวกับการฝังเข็ม โดยวิธีการใช้มือกด นวด บีบ ถูหรือกลิ้ง เป็นต้น สำหรับเด็กที่มีความไวต่อความรู้สึกของเข็มและอวัยวะภายในยังมีความเปราะบางเจริญเติบโตไม่เต็มที่ การนวดทุยหนาจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก

Read More

กดจุดหยุดสะอึก

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเชื่อว่าการสะอึกเกิดจากการไหลเวียนของชี่ภายในร่างกายเกิดการติดขัด อาจเกิดจากการทำงานของอวัยวะต่างๆที่เกี่ยวข้องขาดสมดุลหรือบกพร่องไป เช่น ปอด ตับ ม้าม เป็นต้น การกดจุดจะช่วยกระตุ้นให้ชี่หรือลมปราณอวัยวะต่างๆของร่างกายไหลเวียนได้คล่องขึ้น

Read More

อัพเดทความรู้ กับเรื่องราวน่าสนใจต่างๆ เกี่ยวกับการแพทย์แผนจีน โดยอาจารย์แพทย์จีนมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

อารมณ์…รักษาโรคได้อย่างไร

อารมณ์…รักษาโรคได้อย่างไร

อารมณ์...รักษาโรคได้อย่างไร? โดยอาจารย์แพทย์จีน อรภา ศิลมัฐ “อารมณ์” มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มาตั้งแต่สมัยบรรพกาล ในคัมภีร์ของชาวจีนโบราณหลายเล่มที่บันทึกสาเหตุการเกิดโรค การรักษา และการป้องกันโรคทางศาสตร์การแพทย์แผนจีนถือเป็นหลักฐานชั้นยอดที่แสดงให้เห็นว่าชาวจีนมีแนวคิดว่า “อารมณ์” มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆมาตั้งแต่สมัยบรรพกาล ทำให้เกิดการมองสะท้อนถึงวิถีชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบันที่มักจะเร่งรีบและเคร่งเครียด ส่งผลให้อารมณ์แปรปรวนจนก่อให้เกิดการเจ็บป่วยตามมามากมายศาสตร์การแพทย์แผนจีนเชื่อว่าหากอารมณ์ก่อให้เกิดโรคได้ อารมณ์ก็ย่อมส่งผลให้เกิดการรักษาโรคตามหลักแห่ง “ดุลยภาพ” ของร่างกายได้เช่นกัน กล่าวคือ เมื่อมีอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งมากจนเกินไปเป็นระยะเวลาหนึ่งจนก่อให้เกิดความผิดปกติต่างๆทางร่างกาย แพทย์แผนจีนจะใช้วิธีเหนี่ยวนำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ใหม่ทดแทน...
Read More
อารมณ์…กับการเกิดโรค

อารมณ์…กับการเกิดโรค

อารมณ์...กับการเกิดโรค โดยอาจารย์แพทย์จีน อรภา ศิลมัฐ "อารมณ์" ตามศาสตร์แพทย์จีน ศาสตร์การแพทย์แผนจีนให้ความสำคัญกับการรักษาโรคแบบองค์รวม  มีทฤษฎีพื้นฐานที่กล่าวว่าร่างกายของเราจะแข็งแรงได้นั้นจะต้องอาศัย “ความสมดุล” ระหว่างร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ความรู้สึกซึ่งสอดคล้องกับหลักของพระพุทธศาสนาที่สอนให้เรามีสติ สมาธิ อันนำมาซึ่งความสงบในจิตใจซึ่งจะส่งผลให้สารคัดหลั่งต่างๆของร่างกายถูกหลั่งออกมาอย่างเป็นปกติ มีผลให้ร่างกายของเราแข็งแรงอยู่เสมอ แต่เมื่อใดก็ตามที่เราไม่สามารถควบคุมสติและความรู้สึกนึกคิดของตนเองได้ ก็จะทำให้เราเกิด “อารมณ์” ต่างๆ ขึ้น...
Read More
3 วิธีแก้เครียด ฉบับหมอจีน

3 วิธีแก้เครียด ฉบับหมอจีน

เคยมีอาการแบบนี้กันบ้างรึเปล่าคะ? ... สมองคิดวนไปวนมาซ้ำๆในเรื่องเดิมๆ ถอนหายใจบ่อย นอนไม่หลับ หรือหลับได้แต่ฝันเยอะ ปวดหรือเวียนศีรษะ ปวดแน่นบริเวณชายโครงด้านขวา รู้สึกเหมือนมีก้อนอะไรบางอย่างติดคออยู่จะกลืนก็กลืนไม่ลง จะขากก็ขากไม่ออก ไม่อยากอาหาร มีเสียงวิ้งในหู ถ่ายไม่ออก ... ถ้ามีอาการเหล่านี้เกินครึ่งละก็ ต้องรีบอ่านฉบับนี้แล้วหละค่ะ
Read More
กินอย่างไรในฤดูฝน

กินอย่างไรในฤดูฝน

“ความชื้น” ในฤดูฝนมักจะส่งผลต่อสุขภาพของเราด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีตำราโบราณหลายเล่มกล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า ความชื้นจากฝนทำให้ร่างกายของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรงเกิดโรคได้ง่าย
Read More
ครอบแก้ว

ครอบแก้ว

Cupping therapy "ครอบแก้ว" ทางเลือกในการรักษาโรค จากแพทย์แผนจีน บทความโดย อาจารย์แพทย์จีน อรภา  ศิลมัฐ การครอบแก้วคืออะไร? ครอบแก้ว หรือ Cupping therapy เป็นหนึ่งในวิธีบำบัดโรคของศาสตร์การแพทย์แผนจีนซึ่งค้นพบมานานหลายพันปี ในสมัยก่อนเริ่มต้นจากการนำอุปกรณ์ง่าย ๆ ที่มีอยู่รอบตัวมาประยุกต์ใช้ ได้แก่ กระบอกไม้ไผ่...
Read More
ทุยหนาในเด็ก

ทุยหนาในเด็ก

การนวดจีน(ทุยหนา) ถือเป็นศาสตร์การแพทย์แผนจีนแขนงหนึ่งที่มีแต่โบราณ สามารถใช้รักษาโรคได้เช่นเดียวกับการฝังเข็ม โดยวิธีการใช้มือกด นวด บีบ ถูหรือกลิ้ง เป็นต้น สำหรับเด็กที่มีความไวต่อความรู้สึกของเข็มและอวัยวะภายในยังมีความเปราะบางเจริญเติบโตไม่เต็มที่ การนวดทุยหนาจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก
Read More
กดจุดหยุดสะอึก

กดจุดหยุดสะอึก

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเชื่อว่าการสะอึกเกิดจากการไหลเวียนของชี่ภายในร่างกายเกิดการติดขัด อาจเกิดจากการทำงานของอวัยวะต่างๆที่เกี่ยวข้องขาดสมดุลหรือบกพร่องไป เช่น ปอด ตับ ม้าม เป็นต้น การกดจุดจะช่วยกระตุ้นให้ชี่หรือลมปราณอวัยวะต่างๆของร่างกายไหลเวียนได้คล่องขึ้น
Read More
ดวงตาบอกโรค

ดวงตาบอกโรค

Chinese Medicine ดวงตาบอกโรค & ศาสตร์การแพทย์แผนจีน หลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า “ดวงตาเป็นเสมือนหน้าต่างของหัวใจ” แต่สำหรับศาสตร์การแพทย์แผนจีนเราคงจะต้องกล่าวว่า “ดวงตาเป็นเสมือนทวารของตับ” ว่าแต่เป็นเพราะอะไร ทำไมเราถึงกล่าวเช่นนี้ แล้วนอกจากนี้ตำแหน่งต่าง ๆ ของดวงตายังสะท้อนโรคของอวัยวะอะไรได้อีกบ้าง มาติดตามกันเลยค่ะ อาจารย์แพทย์จีน อรภา ศิลมัฐ คณะการแพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เหตุที่เรากล่าวว่า...
Read More
เก๋ากี้…ยาดีในครัว

เก๋ากี้…ยาดีในครัว

枸杞 เก๋ากี้ ...ยาดีในครัว Goji Berry/Wolfberry “เก๋ากี้” มีชื่อเรียกในภาษาจีนกลางว่า “โก่วฉีจึ” และมีชื่อที่คุ้นหูอีกชื่อหนึ่งว่า “โกจิเบอร์รี่” (Goji Berry) หรือ “วูฟเบอร์รี่” (Wolfberry) เป็นผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ชนิดหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะประเทศจีน ผลเป็นสีแดง จะสุกในช่วงฤดูร้อนและฤดูใบไม้ร่วง ชาวจีนจะนิยมเก็บผลเก๋ากี้มาตากในที่ร่มจนผิวเหี่ยว...
Read More
การดูแลสุขภาพตามช่วงเวลาภาวะชิวเฟิน 秋分

การดูแลสุขภาพตามช่วงเวลาภาวะชิวเฟิน 秋分

ในเวลาหนึ่งปีนอกจากจะแบ่งเป็นฤดูกาลต่าง ๆ แล้ว วัฒนธรรมจีนยังได้กำหนดชื่อให้ภาวะของดินฟ้าอากาศที่แสดงถึงลักษณะพิเศษของช่วงเวลานั้น ๆ โดยแบ่งเป็นฤดูกาลละ 6 ภาวะ รวม 24 ภาวะ หรือเราอาจจะรู้จักกันในชื่อ สารททั้ง 24 เช่น ภาวะชิงหมิง หรือเช็งเม้ง (แต้จิ๋ว) ภาวะตงจื้อ หรือตังโจ่ย (แต้จิ๋ว) เป็นต้น ซึ่งลักษณะพิเศษของดินฟ้าอากาศที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาย่อมส่งผลกระทบต่อมนุษย์ซึ่งอาศัยอยู่ภายใต้ภาวะนั้น ๆ ตามหลักการของมุมมองแบบองค์รวมทางการแพทย์แผนจีน
Read More

เรื่องราวที่น่าสนใจใน HCU - Chinese Arts and culture

วิดีโอเกร็ดความรู้ด้านจีน HCU - Chinese Varieties - Videos

 77,380 total views

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น Strictly necessary cookies *
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • Google Analytics.

    Google Analytics.Necessary cookies are required to help a website usable by enabling core functions and access to secure areas of the website. The website cannot be function properly without these cookies and they are enabled by default and cannot be disabled

บันทึกการตั้งค่า
Scroll to Top